แนะ 3 วิธีปราบ “ด้วงแรดมะพร้าว” ให้สิ้นซาก…เกษตรกรทำได้ทันที
มันมาได้เกือบทุกเวลา เพราะนี่คืออาหารอันโอชะของมัน...กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรเฝ้าระวังสวนมะพร้าว ในช่วงอากาศร้อน ลมกระโชกแรง มีฝนตกหนัก และหนาวในเวลากลางคืน ขอให้เกษตรกรผู้ปลูกมะพร้าวเฝ้าระวังด้วงแรดมะพร้าว มักเข้าทำลายได้ในทุกระยะการเจริญเติบโตของต้นมะพร้าว...
มันมาแล้ว! 2 ด้วงงวงกล้วย…แนะวิธีปราบให้อยู่หมัดและเคล็ดลับป้องกันให้อยู่มือ
มันมากับฝนอีกแล้ว...กรมวิชาการเกษตรแนะ ในช่วงฝนตกและอากาศร้อนชื้นแบบนี้ เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยเฝ้าระวังด้วงงวง 2 ชนิด คือ ด้วงงวงเจาะเหง้ากล้วย และด้วงงวงเจาะต้นกล้วย ...
...
จับตาย 4 แมลงศัตรูมะพร้าวตัวฉกรรจ์ และการป้องกัน
กรมวิชาการเกษตร ประกาศจับตาย 4 แมลงศัตรูมะพร้าว...เผยเคยระบาดรุนแรง ทำให้สวนมะพร้าวนับแสนไร่ต้องเข็ดขยาดมาแล้ว แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่ปราบหรือป้องกันไม่ได้ หากรู้วิธี ดังต่อไปนี้
1.ด้วงแรด ลักษณะการทำลาย...
โรคราสนิมขาวในผักบุ้งจีน…รับมืออย่างไรดี? (ง่ายๆ ทำเองได้)
กรมวิชาการเกษตร ชี้สภาพอากาศชื้น ฝนตกชุก และมีหมอกในตอนเช้า เสี่ยงเกิดสูง โดยเฉพาะโรคนี้ชอบผักบุ้งจีนเป็นพิเศษ แนะเกษตรกรผู้ปลูกให้เฝ้าระวัง สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของผักบุ้งจีน
อาการเริ่มแรก...พบจุดสีเหลืองซีดที่ด้านบนของใบ ใต้ใบมีตุ่มนูนสีขาวขนาดเล็ก...
มันมากับฝน…2 โรคถั่วฝักยาว “ใบจุด-ราสนิม” เกิดได้ก็แก้ได้
กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกถั่วฟักยาวเฝ้าระวัง 2 โรคที่มักเกิดในช่วงฤดูฝนนี้ นั่นก็คือ "โรคใบจุด" ที่เกิดจากเชื้อราเซอโคสปอร่า และ "โรคราสนิม" ที่เกิดจากเชื้อรายูโรมายเซส...
เตือน 4 โรครุมมะเขือเทศช่วงฝนชุก…เผยเคล็ดลับปลูกให้ห่างโรค
จากสภาพอากาศชื้นในระยะที่มีฝนตกช่วงนี้ ถือได้ว่าบรรยากาศเป็นใจให้กับโรคต่างๆ...กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกมะเขือเทศเฝ้าระวังโรคที่เกิดจากไวรัส 4 โรค คือ โรคใบหงิกเหลือง โรคใบด่างเรียวเล็ก โรคใบด่าง...
“โรครากเน่าโคนเน่า” ในทุเรียน รับมือ-ป้องกันอย่างไร? กรมวิชาการเกษตรมีคำตอบ
"โรครากเน่าโคนเน่า" รุกระบาดสวนทุเรียนในเขตพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ จันทบุรี ตราด ชุมพร และสุราษฎร์ธานี...
ระวัง! ปลูกกล้วย(ระยะติดผล) อาจเจอ 3 โรครุม…“ตายพราย” ถึงตายได้
สวนกล้วยให้ระวัง 3 โรครุมช่วงฤดูร้อนนี้ กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรปลูกกล้วยในระยะติดผลให้สังเกตอาการของ โรคตายพราย โรคใบจุดเฟโอเซปทอเรีย และ โรคใบจุดซิกาโตกาสีเหลือง
-...
พอมะม่วงออกดอก “เพลี้ยจักจั่น” ก็มาทันที…แนะวิธีจัดการให้อยู่หมัด
ระยะนี้เข้าสู่ช่วงที่มะม่วงเริ่มออกดอก กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรชาวสวนมะม่วงให้เฝ้าระวังช่วงที่อากาศร้อน ลมกระโชกแรง สลับฝนตกหนัก และหนาวในเวลากลางคืน ให้สังเกตการเข้าทำลายของเพลี้ยจักจั่นมะม่วง มักพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยเข้าทำลายใบอ่อน ช่อดอก...
ระวังเพลี้ยอ่อนถั่วฝักยาวระบาด มักเกิดช่วงอากาศร้อนและแห้งแล้ง
นายอาชว์ชัยชาญ เลี้ยงประยูร รองอธิบดีกรมส่งเสริมการเกษตร กล่าวว่า ถั่วฝักยาวเป็นพืชผักที่คนไทยนิยมรับประทานกันมาก เนื่องจากมีรสชาติดี อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุสำคัญหลายชนิด เช่น วิตามินเอ...
ใครปลูกผักคะน้า ระวังเพลี้ยอ่อน-หนอนใยผัก…เผยวิธีปราบให้ชะงัก
สภาพอากาศภาคเหนือตอนบนในระยะนี้ กลางวันจะร้อนจัด และกลางคืนจะหนาว กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกคะน้าเฝ้าระวังการระบาดของ เพลี้ยอ่อนและหนอนใยผัก สามารถพบได้ทุกระยะการเจริญเติบโตของคะน้า
เพลี้ยอ่อน จะพบตัวอ่อนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยงจากยอด...
เจ๋ง! เลี้ยง “แมลงหางหนีบ” กำจัดแมลงศัตรู อ้อย ข้าวโพด มะพร้าว…เผยเลี้ยงง่าย ทำเองได้
กรมวิชาการเกษตรเจ๋ง!...แนะเกษตรกรเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ “แมลงหางหนีบ” ไว้ใช้ในการกำจัด-ควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยชีววิธี ตัวห้ำตัดวงจรชีวิตแมลงศัตรูพืช ช่วยตอบโจทย์แก้ปัญหาตรงจุด หยุดการระบาดอย่างทันท่วงที เน้นเลี้ยงง่าย โตไว ปลอดภัย...
มันมากับฝนอีกแล้ว….โรคราดำในฝรั่งระยะติดผล แก้อย่างไรให้ได้ผลดี
กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรชาวสวนฝรั่ง พึงระวังอากาศร้อนชื้นและฝนตกหนักในระยะนี้ อาจจะเกิดโรคราดำจากเชื้อรา มักพบได้ในระยะที่ฝรั่งเริ่มติดผล เริ่มแรกจะพบคราบราดำเหนียวติดตามส่วนต่างๆ ของต้นฝรั่ง เช่น ใบ...
ระวัง! หนอนชอนใบส้ม-แมลงค่อมทอง…โจมตีมะนาวช่วงหน้าฝน
กรมวิชาการเกษตร....ออกโรงเตือนเกษตรกรชาวสวนมะนาว บอกช่วงหน้านี้มีสภาพอากาศชื้น และเข้าสู่ช่วงฤดูฝน แนะเฝ้าระวังแมลงศัตรูพืช คือ หนอนชอนใบส้ม และแมลงค่อมทอง สามารถพบได้ในระยะที่มะนาวแตกใบอ่อน
หนอนชอนใบส้ม มักพบหนอนกัดกินภายใต้ผิวของใบอ่อนและยอดอ่อน...
เตรียมรับมือ 2 โรคพืชตระกูลแตง (แตงกวา แตงโม เมล่อน ฟักเขียว มะระจีน บวบ ฯลฯ)
ในเขตภาคกลางระยะนี้จะมีอากาศร้อนช่วงกลางวัน และมีอากาศเย็นในช่วงกลางคืน กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกพืชตระกูลแตง อาทิ แตงกวา แตงโม เมล่อน ซูกินี...
7 วิธีดูแลรักษาไม้ผลช่วงแล้งให้ได้ผลดี และอยู่กับเรานานๆ
เรื่อง : กลุ่มอารักขาพืช สำนักงานเกษตรจังหวัดชุมพร
การดูแลรักษาต้นไม้ผลให้ผ่านพ้นช่วงแล้ง ในสถานการณ์เข้าสู่ช่วงฤดูร้อน ภัยแล้งกำลังมาถึงชาวสวนผลไม้มีความจำเป็นต้องมีการจัดการสวนของตนเองให้ต้นไม้อยู่รอดผ่านพ้นช่วงวิกฤตภัยแล้งนี้ไปให้ได้ เพราะต้นไม้ผลใช้เวลานานหลายปีกว่ามันจะออกดอก ติดผล เพราะฉะนั้นเราจึงมีการจัดการสวนไม้ผลในยามขาดแคลนน้ำในช่วงฤดูแล้ง เนื่องจากสภาพภูมิอากาศโดยทั่วไปจะร้อนและแห้งแล้ง...
ระวัง โรคและแมลงศัตรูองุ่น…มันมากับอากาศร้อน สลับฝนตกและลมกระโชกแรง
กรมวิชาการเกษตร แนะให้เฝ้าระวังสวนองุ่นช่วงอากาศร้อน สลับฝนตก และลมกระโชกแรง สภาพอากาศเช่นนี้ เป็นใจให้โรคและแมลงต่างๆ
“เกษตรกรผู้ปลูกองุ่นให้สังเกตการระบาดแมลงศัตรูพืช คือ เพลี้ยไฟ และหนอนกระทู้หอม...
เตือนเกษตรกร “โรคราดำมะม่วง” ในสภาพอากาศแห้งแล้ง รับมือ-ป้องกันอย่างไร? มีคำตอบ
ระยะนี้จะเข้าสู่ช่วงที่มะม่วงเริ่มออกดอก กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรชาวสวนมะม่วงในเขตภาคเหนือตอนล่างเฝ้าระวังในช่วงที่มีสภาพอากาศแห้งแล้ง ให้เกษตรกรหมั่นสังเกตการระบาดของโรคราดำ มักพบคราบราสีดำติดตามส่วนต่างๆ ของต้น เช่น ใบ ยอด...
มันมากับฝน…2 โรคพริก…โรคกุ้งแห้ง และ โรครากเน่าฯ…เตรียมรับมือกันได้
ย่างเข้าสู่ฤดูฝน อากาศชื้น...กรมวิชาการเกษตร เตือนเกษตรกรผู้ปลูกพริกเตรียมรับมือการระบาดของ 2 โรค คือ โรคกุ้งแห้ง (แอนแทรคโนส) และโรครากเน่าโคนเน่า...
หนอนเจาะดอกมะลิ ป้องกันอย่างไรดี?
ในช่วงสภาพอากาศร้อนแห้งแล้ง และมีลมพัดแรงระยะนี้ กรมวิชาการเกษตร แนะเกษตรกรผู้ปลูกมะลิเฝ้าระวังการระบาดของหนอนเจาะดอกมะลิ โดยจะพบการเข้าทำลายในระยะที่ต้นมะลิออกดอก จะพบตัวเต็มวัยเพศเมียวางไข่เป็นฟองเดี่ยวๆ ตามบริเวณกลีบดอก ก้านกลีบเลี้ยง ใต้ใบ...