วันเสาร์, เมษายน 20, 2024
เดินตามพ่อ ร.9...ในสวนยางมีมังคุด ขนุน ไก่ ฯลฯ ลุงวิเวก บุญช่วย ทำได้แล้ว

เดินตามพ่อ ร.9…ในสวนยางมีมังคุด ขนุน ไก่ ฯลฯ ลุงวิเวก บุญช่วย ทำได้แล้ว

ภาพ / เรื่อง : ปรัชญา รัศมีธรรมวงศ์ การทำอาชีพเกษตรกรรมแบบเชิงเดียวโดยเฉพาะการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียวมีความเสี่ยงสูงต่อการขาดทุนได้ง่ายในยุคนี้ แถมเจอภาวะเศรษฐกิจผันผวนไปทั่วโลกยิ่งทำให้ราคายางพาราอยู่ในภาวะขาลงได้บ่อยครั้ง การยางแห่งประเทศไทย (กยท.)...
เกษตรแฟร์ปี60...จัดเต็มทุกพื้นที่ชู “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ทำกินตามคำพ่อสอน”

เกษตรแฟร์ปี60…จัดเต็มทุกพื้นที่ชู “ศาสตร์แห่งแผ่นดิน ทำกินตามคำพ่อสอน”

เรื่องโดย : คุณจุไร เกิดควน/ ประชาสัมพันธ์ มก. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดงานเกษตรแฟร์ ประจำปี 2560...
บ้านปู หนุนชุมชนยั่งยืน... “บ้านเขาสมอคอน” ต้นแบบหมู่บ้านพอเพียง จ.ลพบุรี

บ้านปู หนุนชุมชนยั่งยืน… “บ้านเขาสมอคอน” ต้นแบบหมู่บ้านพอเพียง จ.ลพบุรี

“ชุมชนเกษตรกรบ้านเขาสมอคอนหมู่ที่ 1, 2 และ 3” อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี เคยได้รับความเสียหายอย่างหนักจากปัญหาน้ำท่วมใหญ่เมื่อปี 2554...
“ชั่งหัวมัน” แปลงสาธิตเกษตร “ของพ่อ” เพื่อลูกทุกคน

ไปชมกันหรือยัง…“ชั่งหัวมัน” แปลงสาธิตเกษตร “ของพ่อ” เพื่อลูกทุกคน

แค่ชื่อโครงการ “ชั่งหัวมัน” ก็ทำให้ผมเกิดความสนใจที่อยากจะไปเยี่ยมชมโครงการนี้ ซึ่งตั้งใจมานานว่าจะไปสักครั้งหนึ่ง และแล้วฝันก็เป็นจริงเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา ... แต่ก่อนที่จะไปดูว่าภายในโครงการพระราชดำริแห่งนี้มีอะไรให้เยี่ยมชมบ้าง ผมขอให้ข้อมูลเกี่ยวกับชื่อโครงการและประวัติความเป็นมากันก่อน ที่มาของโครงการนี้...ครั้งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จไปประทับที่พระราชวังไกลกังวล  ได้นำมันเทศที่ชาวบ้านถวาย วางไว้บนตาชั่งแบบโบราณ...
ในหลวงทรงย้ำ “ความพอเพียง” (รวมพระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง ปี 17-44)

ในหลวงทรงย้ำ “ความพอเพียง” (รวมพระราชดำรัสเศรษฐกิจพอเพียง ปี 17-44)

“พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว” พระราชทานพระราชดำรัสหลักปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ครั้งแรกในงานพระราชทานปริญญาบัตร ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันพุธที่ 18 กรกฎาคม...
เรื่องเล่าต้นยางนา โดยนายอำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี

เรื่องเล่าต้นยางนา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยนายอำพล เสนาณรงค์ องคมนตรี

“ไม้ยางนาในประเทศไทย ได้ถูกตัดฟันใช้สอยและทำเป็นสินค้ากันเป็นจำนวนมากขึ้นทุกปี เป็นที่น่าวิตกว่า หากมิได้บำรุงส่งเสริมและดำเนินการปลูกไม้ยางนาขึ้นแล้ว ปริมาณไม้ยางนาอาจจะลดน้อยลงไปทุกที จึงควรที่จะได้มีการดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการปลูกยางนา เพื่อจะได้นำความรู้ไปใช้ในทางปฏิบัติ” (พระราชปรารภพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อพุทธศักราช...
สระน้ำขนาดใหญ่ที่ใช้เก็บน้ำและเลี้ยงปลากินพืชหลายชนิด

วีเอ็นยูฯ จัดเกษตรสัญจร…น้อมนำพระราชดำริพัฒนาเกษตรยั่งยืน

วีเอ็นยูฯ ร่วมกับ วารสารเคหการเกษตร ได้ตระหนักถึงความสำคัญของอุตสาหกรรมเกษตรของไทย พร้อมน้อมนำแนวพระราชดำริมาต่อยอด จึงจัดงานเกษตรสัญจรขึ้น เพื่อเดินสายจัดงานสัมมนาด้านเกษตรให้ความรู้แก่เกษตรกรในการพัฒนาอาชีพเกษตรให้อยู่รอดและมีกินมีใช้ตามที่พระราชหฤทัยมุ่งมั่นของพระองค์ นำร่องจังหวัดแรกที่กาญจนบุรี ระหว่างวันที่...
“ใครเดินตามในหลวงจะรอด”...ไปดู “เกษตรทฤษฎีใหม่” ที่บ้านหนองสามพราน กาญจนบุรี

“ใครเดินตามในหลวงจะรอด”…ไปดู “เกษตรทฤษฎีใหม่” ที่บ้านหนองสามพราน กาญจนบุรี

เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นแนวพระราชดำริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เกี่ยวกับการจัดพื้นที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยและมีชีวิตอย่างยั่งยืน โดยมีการแบ่งพื้นที่เป็นส่วน ๆ ได้แก่ พื้นที่น้ำ พื้นที่ดินเพื่อเป็นที่นาปลูกข้าว พื้นที่ดินสำหรับปลูกพืชไร่นานาพันธุ์...
กษัตริย์-เกษตร…เกษตรคือประเทศไทย

“กษัตริย์-เกษตร” เกษตรคือประเทศไทย

ตลอดระยะเวลาเจ็ดสิบปีแห่งการครองราชย์  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือ “ในหลวง” ของประชาชนชาวไทย ทรงอุทิศพระวรกายด้วยพระวิริยะบำเพ็ญพระราชกรณียกิจต่างๆ  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในท้องถิ่นทุรกันดาร ที่อยู่ในชนบทห่างไกล ได้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น...
พื้นที่ 5 ไร่ ทำอย่างไรให้คุ้มประโยชน์สุด...วโรชา จันทโชติ มีคำตอบ (5 ข้อ คุณทำได้)

พื้นที่ 5 ไร่ ทำอย่างไรให้คุ้มประโยชน์สุด…วโรชา จันทโชติ มีคำตอบ (5 ข้อ คุณทำได้)

เมื่อสัปดาห์ที่แล้ว... คุณมนตรี ตรีชารี อุปนายกสมาคมสื่อมวลชนเกษตรแห่งประเทศไทย และคุณศุภชัย นิลวานิช จากซุปเปอร์เอสเซ็นเตอร์ ชวนไปกินลมชม “สวนวโรชา”...
พระอัจฉริยภาพด้านการจัดการน้ำ “ถ้าไม่มีน้ำคนอยู่ไม่ได้”

พระอัจฉริยภาพด้านการจัดการน้ำ “ถ้าไม่มีน้ำคนอยู่ไม่ได้”

จากการเสด็จพระราชดำเนินไปเยี่ยมเยียนพสกนิกร ทำให้ทรงตระหนักว่าภัยแล้งและน้ำเพื่อการเกษตรและบริโภคอุปโภคเป็นปัญหาที่รุนแรงและสำคัญที่สุด การจัดการทรัพยากรน้ำและการพัฒนาแหล่งน้ำเพื่อการเพาะปลูกและบริโภคอุปโภค นับว่าเป็นงานที่มีความสำคัญ และมีประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ ในการช่วยให้เกษตรกรทำการเพาะปลูกได้อย่างสมบูรณ์ตลอดปี เพราะว่าพื้นที่การเพาะปลูกส่วนใหญ่ทุกภาคของประเทศเป็นพื้นที่เพาะปลูกนอกเขตชลประทาน ซึ่งต้องอาศัยเพียงน้ำฝน และน้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติเป็นหลัก...

ข่าวที่น่าสนใจ